กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: http://www.updc.clm.up.ac.th//handle/123456789/180
ชื่อเรื่อง: การศึกษาความเป็นไปได้ในการนำกากตะกรันอะลูมิเนียมมาใช้ผลิตบล็อกมวลเบา
ชื่อเรื่องอื่นๆ: Study the Possibility of using an Aluminum Dross in Lightweight Concrete Block Manufactures
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: ปะละน่าน, จุฬาลักษณ์
คำสำคัญ: บล๊อกมวลเบา
ผลตอบแทนสุทธิของโครงการ
ผลตอบแทนสุทธิของโครงการ
อัตราส่วนผลตอบแทนต่อต้นทุน
Lightweight concrete block
Net present value
Internal rate of return
Benefit-cost ratio
วันที่เผยแพร่: 2558
สำนักพิมพ์: มหาวิทยาลัยพะเยา
แหล่งอ้างอิง: http://tdc.thailis.or.th/tdc/browse.php?option=show&institute_code=191&bib=1152&doc_type=0&TitleIndex=1
บทคัดย่อ: งานวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความเป็นไปได้ในการนำกากตะกรันอลูมิเนียมมาใช้ผลิตบล็อกมวลเบา จากการศึกษาบล็อกมวลเบา 3 ประเภทได้แก่ บล็อกมวลเบาแบบเติมฟองอากาศ (Cellular lightweight concrete, CLC) แบบบ่มด้วยไอน้ำภายใต้ความดันสูง (Autoclaved aerated concrete, AAC) และ การใช้กากตะกรันในการผลิตบล็อกมวลเบา พบว่ามูลค่าเงินปัจจุบัน (Net present value, NPV) ของบล็อก 3 ประเภทมีค่าเป็นบวกคือ 12,456,196 25,597,689 และ16,328,687 อัตราผลตอบแทนภายในโครงการ (Internal rate of return, IRR) เท่ากับ 108% 132% และ 85% ผลการวิเคราะห์อัตราส่วนผลตอบแทนต่อต้นทุน (Benefit-cost ratio, B/C ratio) 1.70 2.42 และ 2.58 ตามลำดับ คุณสมบัติทางด้านความหนาแน่นแห้งเชิงปริมาตร และกำลังรับแรงอัดเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานอุตสาหกรรม มอก.1505-2541 และ มอก. 2601-2556 จากการวิเคราะห์ทางการเงินจึงมีความเป็นไปได้ในการนำกากตะกรันมาผลิตบล็อกมวลเบาเพื่อช่วยลดปริมาณขยะจากอุตสาหกรรม
URI: http://10.209.10.67:8080/handle/123456789/180
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:ระดับปริญญาโท (Master Degree)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Julaluk Palanan.pdfJulaluk Palanan2.52 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น