กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: http://www.updc.clm.up.ac.th//handle/123456789/569
ชื่อเรื่อง: การศึกษาเปรียบเทียบระบบการจัดหาน้ำเพื่อการอุปโภคบริโภค : กรณีศึกษา บ้านโป่งปูเฟือง ตำบลแม่สรวย อำเภอแม่สรวย จังหวัดเชียงราย
ชื่อเรื่องอื่นๆ: Comparative Study of Water Supply Systems for Domestic used : Case Study Ban Pong Po Fueng Mae Suai Subdistrict Mae Suai District Chiang Rai Province
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: อุ่นคำ, รุ่งทิวาห์
คำสำคัญ: ระบบการจัดหาน้ำ
ระบบประปา
ระบบประปาภูเขา
Water supply system
Plumbing system
Mountain water supply system
วันที่เผยแพร่: 2557
สำนักพิมพ์: มหาวิทยาลัยพะเยา
แหล่งอ้างอิง: http://tdc.thailis.or.th/tdc/browse.php?option=show&institute_code=191&bib=1144&doc_type=0&TitleIndex=1
บทคัดย่อ: การวิเคราะห์อัตราส่วนของผลประโยชน์ต่อเงินลงทุน (B-C ratio) และผลตอบแทน ภายในของโครงการ (IRR) พบว่า ระบบประปาภูเขาเป็นระบบที่เหมาะสมที่จะลงทุนมากที่สุด มีค่า B-C ratio เท่ากับ 24.29 ค่า IRR เท่ากับ 24.99 เปอร์เซ็นต์ ในขณะที่ระบบประปาบาดาลขนาดใหญ่ และระบบประปาผิวดินขนาดใหญ่ มีค่า B-C ratio และ IRR เท่ากับ 2.49, 3.71 เปอร์เซ็นต์ และ 3.38, 4.88 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ เมื่อทำการเปรียบเทียบผลประโยชน์ที่เพิ่มขึ้นกับเงินลงทุนที่เพิ่มขึ้น ของระบบประปาบาดาลขนาดใหญ่กับระบบประปาภูเขา ได้ค่าอัตราส่วนเท่ากับ 0.4587 เช่นเดียวกัน เมื่อเปรียบเทียบระบบประปาผิวดินขนาดใหญ่ กับระบบประปาภูเขาได้ค่าอัตราส่วนเท่ากับ 0.5617 ซึ่งเป็นการยืนยันว่าระบบประปาภูเขาเป็นระบบที่เหมาะสมที่สุด
URI: http://10.209.10.67:8080/handle/123456789/569
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:ระดับปริญญาโท (Master Degree)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Rungthtwa Unkham.pdfRungthtwa Unkham1.75 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น