Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.updc.clm.up.ac.th//handle/123456789/2344
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorยอดกันตี, จารุวรรณ-
dc.date.accessioned2023-09-20T08:18:16Z-
dc.date.available2023-09-20T08:18:16Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttp://www.updc.clm.up.ac.th//handle/123456789/2344-
dc.description.abstractจากการที่ผู้สร้างสรรค์ มีภูมิลำเนาอยู่ที่เวียงกาหลง แหล่งอารยธรรมทางล้านนา และมีประวัติศาสตร์เครื่องเคลือบดินเผาที่สืบทอดกันมาอย่างยาวนาน ผู้สร้างสรรค์ได้ศึกษา และต้องการถ่ายทอดลักษณะพิเศษของดินที่มีน้ำหนักเบา มีความละเอียดสูง น้ำเคลือบที่ทำมาจากขี้เถ้าจากไม้มงคล 7 ชนิด วัสดุทุกอย่างล้วนหาได้จากในชุมชน กรรมวิธีธรรมชาติที่สืบต่อกันมาแต่โบราณ โดยไม่ใช้สารเคมีใด ๆ ทั้งสิ้น เพื่อถ่ายทอดลวดลายสัตว์มงคลของเวียงกาหลง โดยสร้างสรรค์เป็นเครื่องประดับ สัตว์มงคลของเวียงกาหลง แบ่งออกเป็น 4 ปะเภท ประกอบไปด้วย 1) โชค คือ ปลาตะเพียน 2) อำนาจ คือ มังกร กิเลน สิงห์ และช้าง 3) วาสนา คือ นกยูง ไก่ฟ้า และหงส์ 4) อายุยืน คือ เต่า โดยหยิบยกลวดลายความเชื่อเหล่านี้มาสร้างสรรค์เป็นผลงานเครื่องประดับ จำนวน 4 ชุด แต่ละชุดประกอบไปด้วย สร้อยคอ สร้อยข้อมือ และต่างหู โดยจี้เครื่องประดับ ทำจากเครื่องเคลือบดินเผาเวียงกาหลง แต่ตัวเรือนเครื่องประดับทำจากเงินแท้ไม่ต่ำกว่า 92.5 เปอร์เซ็นต์ ด้วยวัสดุที่ใช้สร้างสรรค์ กรรมวิธี และเรื่องราวอารยธรรมต่าง ๆ ทำให้เชื่อได้ว่า เครื่องประดับเหล่านี้เป็น “ความศักดิ์สิทธิ์ที่ไม่ต้องปลุกเสกหรือทำพิธี” สวมใส่ทั้งเพื่อความสวยงาม และเพื่อความเป็นสิริมงคลแก่ตนเอง การยกระดับจากเครื่องเคลือบที่เป็นของใช้ ถ้วยจาน มาเป็นเครื่องประดับ ทำให้มีการเข้าถึงเรื่องราวประวัติศาสตร์อันยาวนานบนผืนแผ่นดินไทย อีกทั้งยังเป็นการเสริมสร้างรายได้ และชื่อเสียงให้แก่ชุมชนเวียงกาหลงอีกด้วยen_US
dc.description.sponsorshipมหาวิทยาลัยพะเยาen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยพะเยาen_US
dc.subjectศิลปนิพนธ์en_US
dc.subjectอารยธรรมล้านนาen_US
dc.subjectเครื่องเครือบดินเผาen_US
dc.subjectสัตว์มงคลen_US
dc.subjectเครื่องประดับen_US
dc.subjectลวดลายมงคลen_US
dc.subjectเครื่องเครือบดินเผาเวียงกาหลงen_US
dc.title4 มงคลen_US
dc.title.alternativeLucky 4 Lifeen_US
dc.typeOtheren_US
Appears in Collections:คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และศิลปกรรมศาสตร์



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.